***ยินดีต้อนรับเข้าสู้เว็บไซต์การเรียนการสอน วิชา เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น 2204-2003***

 

หน่วยที่ 4
ตัวกลางการเชื่อมต่อเครือข่าย

 

เนื้อหาสาระ
การสื่อสารต้องอาศัยสื่อกลางเพื่อการส่งผ่านข้อมูลในการนำข้อมูลไปยังจุดหมายปลายทางและm,
คิดศอสื่อสระหว่างคอมพิวเตอร์อาจจะใช้สายเชื่อมต่อผ่านอุปกรณ์หรืออาจจะเชื่อมต่อแบบไร้สายและสื่อลางกาสื่อสรมีความสำคัญมากเพราะเป็นปัจจัยหนึ่งที่กำหนดประสิทธิภาพในการสื่อสาร เช่น ความเร็วในกาส่งข้อมูล ปริมาณของข้อมูลที่สามารถนำไปด้ในหนึ่งหน่วยวลา รวมถึงคุณภาพของก
ข้อมูลสื่อกลางในการสื่อสารข้อมูลเป็นส่วนที่ทำให้เกิดการเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์เข้าด้วยกัน และเป็น
ส่วนที่ยอมให้ข่าวสารข้อมูลเดินทางผ่านจากผู้ส่งไปยังผู้รับ สื่อกลางที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลมีอยู่หลาย ป้องกันสัญญาณ
ประเทซึ่งแต่ละประเภทมีความแตกต่างกันในด้นปริมาณข้อมูลที่สามารถนำผ่านไปได้ในวลาขณะได้ข้อมูล
ขณะหนึ่งสื่อหรือตัวกลางการสื่อสาข้อมูลเป็นองค์ประกอบสำคัญของการสื่อสารข้อมูล เพราะการเลือกร ข้อมูลลดลงสื่อกลางที่หมะสมจะทำให้เกิดประสิทธิาพในกาสื่อสาร

4.1 สายทองแดง
สื่อกลางประเทสายทองแดง เป็นสื่อกลางทางกายภาพที่ใช้ในการการเชื่อมโยงระหว่างผู้รับและ ได้ไกลประผู้ส่งข้อมูล โดยอาศัยสัญญาณเป็นสื่อกลางในระบบสื่อสารข้อมูลแบ่งออกเป็น

4.1.1 สายโดแอกเซียล (Coaxial)
สายโดแอกเซียล ประกอบด้วย แกนตัวนำที่เป็นลวดทองแดงตรงกลาง 1 เส้น และมีฉนวนแบบเจาะ พลาสติกหนาหุ้มลวดตัวนำ และถัดจฉนวนจะมีตชยที่ถักจาลวดตัวนำหุ้มฉนวนอีกชั้นหนึ่ง เพื่อป้องกันกรรบกวนจากคลื่นสามแม่เหล็กไฟฟาและสัญญาณรบกวนอื่นและหุ้มรอบตาขำยอีกชั้นด้วยพลาสติก
4.1.2 สายคู่ตีเกลียว
สายคู่ตีเกลียว (Twisted Pair) เป็นสายนำสัญญาณที่ได้รับความนิยมในการใช้งานในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์มากที่สุดในปัจจุบัน เนื่องจากการติดตั้งง่ายและมีราคาไม่แพง รวมถึงมีการพัฒนาให้สายคู่ตีเกลียวสามารถรองรับการรับส่งสัญญาณข้อมูลในอัตราที่ค่อนข้างสูงได้


ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ สายคู่ตีเกลียว

42.1 ชนิดของของสายใยแก้วนำแสง
สายใยแก้วนำแสงสมารถบ่งออกเป็น 2 ชนิด ตามทคนิคที่ใช้ในการสงลำแสงผ่าน ใด้แก่สายใยแก้วน้ำแสงแบบมัลติโหมด และสายใยแก้วนำแสงแบบชิงเกิลโหมด ดังนี้
1. สายใยแก้วนำแสงแบบมัลติโหมด MM (Mนl-Mde) การส่งสัญญาณแสงที่สัญญาณแสงหลาลำแสงจะถูกส่งจากแหล่งกำเนิดแสงด้วยมุมหักเหที่มุมต่างกันภายในแกนกลางของสายและอาศัยการสะท้อนแสงที่เกิดขึ้นภายในสายไปยังปลายสาย จึงเรียกลักษณะการสงแบบนี่ว่ามัลติโหมด และ
สามารแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ
(1) แบบ Sep-index ที่ส่วนห่อหุ้มมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางระหว่าง 125 ถึง 400
ไมโคเมตร และสำหรับส่วนแกนกลางมีขนาดส้นผ่านศูนย์กลางระหว่า50mถึง200 ๓ โดยมีความ
หนาแน่นที่เท่ากันตลอดทั้งสาย ดังนั้นลำแสงที่มีมุมตกระทบที่ต่างกัน จะมีมุมหักเหที่ต่างกันด้วยส่วนที่
ห่อหุ้มแกนกลางจะทำหนำที่ในกาสะท้อนลำแลง ทำให้แงเคลื่อนที่ไปยังแกนเรื่อย ๆ จนกระทั่งถึงปลาย
(2) แบบ Graded-เทdx ที่ส่วนห่อหุ้มมีขนาดส้นผ่านศูนย์กลางระหว่าง125 M ถึง100 um สวนแกนลางมีขนาดเส้นศูนย์ลาระหว่าง 0 m ถึง 10 และมีความหนาแน่นขึ้นเรื่อย ๆจนกระทั่งมีคู่สูงสุดที่สวนห่อหุ้มดังนั้นเมื่อมีการส่งลำแส้งข้าไปแสงจะคอยๆหักหตามความหนาแน่นของสายใยแก้วนำแสงจนกระทั้งหักเหกลับหมดที่ส่วนห่อหุ้ม และลักษณะของการหักเหของลำแสงจะมีลักษณะเป็นเส้นโค้ง
2. สายใยแก้วนำแสงแบบชิงเกิลโหมด SM (Single Mode) การส่งลำแสของสายชนิดนี้จะคล้ายกันกับสายแบบ step-index แต่ลำแสงที่ออกจากแหล่งเนิดนั้นจะส่งออกไปเกือบที่จะเป็นเส้นตรงจึงทำให้ลำแสงเดินทางออกไปเป็นแนวนอนของเส้นตรงโดยไม่อาศัยหลักการหักเหและการสะท้อนของลำแสงเหมือนกับสายใยแก้วนำแสงประเภทอื่น

4.22 การเชื่อมต่อสายใยแก้วนำแสง
การเชื่อมต่อของสายใยแก้วนำแสกับอุปกรณ์ครือข่ายหรืออุปกรณ์อื่น ๆ จะใช้หัวต่อที่ปลายสายใยแก้วนำแสงและลักษณะของหัวต่อสายใยแก้วนำแสงที่นิยมใช้งานมีอยู่3 แบบ ตังนี้
1. หัวต่อแบบ SC (Subscriber Channel) เป็นหัวต่อที่ออกแบบโดยบริษัท AT&T เพื่อใช้ เชื่อมต่อสายใยแก้วนำแสงทั้งแบบชิงเกิลโหมดและแบบมัลติโหมดเข้ากับอุปกรณ์เครือข่าย LAN
ภายในอาคารสำนักงานหรือเชื่อมต่ออุปกรณ์สื่อสารในระบบเคเบิ้ลทีวีหัวต่อสายใยแก้ว
นำแสงแบบ SC


รูปภาพที่เกี่ยวข้อง

4.3 การสื่อสารไร้สาย
การสื่อสารไสย หมายถึง การถ่ายโอนข้อมูลระหว่างจุดสองจุดหรือมากกว่า โดยไม่ได้เชื่อมต่อกันด้วยตัวนำ แต่ใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ใช้แสง เสียง สนามแม่เหล็กหรือสนามไฟทำให้เกิดการสีอระยะไกลในที่ที่ไม่สามารถใช้สายได้

4.3.1 คลื่นวิทยุ
คลื่นวิทยุเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดหนึ่งที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของกระแสไฟฟ้าในอากาศทำให้เกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ากระจายออกไปรอบ ๆ สายอากาศในทุทิศทุกทางดังนั้นการับสัญญาณคคืนแม่เหล็กไฟฟ้าของสาอากาศจึงไม่จำเป็นต้องตั้งทิศทางให้ชี้ตรงกับทิศทางของเสาส่งสัญญาณหรือทิศทางการแพร่กระจายคลื่น โดยปกติแล้วการแพร่ระจายคลื่นวิทยุจะมีวิธีการแพร่กระจายได้ 3 รูปแบบ
4.3.2 ไมโครเวฟ
แนวเส้นตรงหรืออยู่ในระดับสายตา โดยเสาอากาศที่ทำหน้าที่ในการรับส่งสัญญาณนั้นต้องอยู่ในแนวเส้นตรงเตียวกัน ไมโครเวฟเกิดขึ้นจากความต้องการนำคลื่นวิทยุความถี่สูงมาใช้ในการติดต่อสื่อสารไม่ให้รบกวนการสื่อสารของคลื่นวิทยุที่ใช้ในระบบคลื่นวิทยุ AM คลื่นวิทยุ FM หรือระบบโทรทัศน์ และเป็นความถี่ของคลื่นในช่วงนี้มีค่าที่สั้นมากในระดับไมโครเมตร
4.3.4 บลูทูธ
บลูทูธ (Bluetooth) เป็นเทคโนโลยีที่ใช้ในการติดต่อเชื่อมโยงระหว่างอุปกรณ์ที่ใช้คลื่นวิทยุความถี่สูงประมาณ 24GHz โดยที่ไม่ต้องเชื่อมต่อเป็นเส้นตรงเหมือนอินฟราเรด การสื่อสารบลูทูธถูกพัฒนาขึ้นมาโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์สื่อสาร ถูกนำไปใช้ติดต่อสื่อสารในระบบโทรศัพท์มือถือและอุปกรณ์สื่อสารต่าง ๆ ในระยะทางที่ไม่ไกลสำหรับการรับส่งข้อมูลขนาดไม่ใหญ่และจำนวนไม่มาก และมีการสูญเสียพลังงานน้อย ทำให้ใช้งานสำหรับการติดต่อสื่อสารได้นาน
4.3.5 เซลลูลาร์
เซลล์ลูล่าร์ (Cellular) เป็นระบบที่ได้รับการพัฒนามจากระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ โดะ
สัญญาณแบบแอนะล็อกความถี่สูงด้วยหลักการแบ่งองสัญญาณทางความถี่ทำหมีช่องสัญญาณสำ
การติดต่อสื่อสารเป็นจำนวนมากได้ระบบการสื่อสารโทรศัพท์เคลื่อนที่แบบเซลลูล่าร์จะทำการแปลงสัญญาณเสียงให้เป็นคลื่นความถี่เพื่อส่งออกไปยังผู้รับแต่ในปัจจุบันระบบโทรศัพท์เซลลูล่าร์แบบดิจิตอลได้รับความนิยมในการใช้งานมากกว่าเนื่องจากระบบที่ใช้สัญญาณแอนะล็อกมีความไวต่อสัญญาณรบกวน

 

 

 

 

จำนวนผู้เข้าชม