***ยินดีต้อนรับเข้าสู้เว็บไซต์การเรียนการสอน วิชา เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น 2204-2003***

 

หน่วยที่6
รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย

 


เนื้อหาสาระ
การนำคอมพิวเตอร์มาเชื่อมต่อกันเป็นระบบเครือข่ายนั้น จะต้องมีการศึกษาถึงรูปแบบโครงสร้างและกรจัดวางอุปกรณ์ต่าง ๆ ในระบบเครือข่าย เพื่อทำให้การใช้งานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์รู้ประโยชน์และมีประสิทธิภาพในการใช้งานสูงสุด

6.1 โทโพโลยี

โทโพโลยี (Topology) หมายถึง ลักษณะทางกายภาพของระบบเครือข่าย เป็นลักษณะของกร
เชื่อมโยงสายสื่อสารเข้ากับอุปกรณ์และเครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายเข้าด้วยกันซึ่งโทโพโลยีที่นิยมใช้บนเครือข่ายท้องถิ่นจะมีอยู่3 ชนิดด้วยกัน ดังนี้

6.1.1 โทโพโลยีแบบบัส


โทโพโลยีแบบบัส (Bs Topology) เป็นเครือข่ายที่มีรูปแบบการเชื่อมต่อแบบบัส โดยเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์กับตัวกลางหลักที่เรียกบัสเพียงเส้นเดียวยาวต่อเนื่องและมี Connectorตัวเชื่อมต่อ และที่จุดปลายของทั้งสองค้นจะต้องมีอุปกรณ์ปิดหัวท้ายที่เรียกว่า Terminator เพื่อกำจัดสัญญาณรบกวนที่จะเกิดขึ้นจากกาสะท้อนกลับของอุปกรณ์ของฝ่ายผู้รับย้อนกลับไปหาฝายผู้ส่งโทโพโลยีแบบบัสเป็นวิธีการเชื่อมต่อที่ง่ายที่สุดและเป็นวิธีที่นิยมอย่างมากในอดีต แต่ปัจจุบันมีการใช้งาน

6.1.2 โทโพโลยีแบบดาว
โทโพโลยีแบบดาว (Star Topology) (เกิดมาจากเครือข่ายที่มีการเชื่อมต่อเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์มนฟรมที่เป็นศูนย์กลางในปัจจุบันได้มีการนำโทโพโลยีแบบดาวมาประยุกต์ใช้งาน โดยให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องเชื่อมต่อเข้ากับอุปกรณ์ศูนย์กลางที่รียกว่าฮับหรือสวิตซ์โดยอุปกรณ์ศูนย์กลางจะทำหน้ำที่เป็นศูนย์ควบคุมเส้นทางการสื่อสารทั้งหมด และทำหน้ำที่จัดงข้อมูลให้กับเครื่องปลายทาง



6.1.3 โทโพโลยีแบบวงแหวน
โทโพโลยีแบบวงแหวน (Ring Topology) เป็นเครือข่ายที่มีรูปแบบการเชื่อมต่อแบบวงแหวนโดยเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องจะเชื่อมต่อกับเครื่องถัดไปเรื่อยๆจนกระทั้งเครื่องแรกและเครื่องสุดท้ายมีการเชื่อมโยงกันทำให้มีลักษณะเป็นวงแหวน การรับส่งข้อมูลในโทโพโลยีแบบวงแหวน ข้อมูลจะถูกส่งไปในทิศทางเดียวกันภายในวงแหวน และใช้วิธีการสงข้อมูลผ่านโทเด็น (Token passing) ซึ่งโทเค็น คือข้อมูลพิเศษที่ส่งผ่านในโทโพโลยีแบบวงแหวน และถูกส่งต่อกันไปเรื่อยๆ ถ้าเครื่องใดที่ต้องการส่งข้อมูลเมื่อได้รับโทเด็นจะมีสิทธิ์ที่จะส่งข้อมูลโดยใส่ที่อยู่ของเครื่องปลายทางไว้ในข้อมูลแล้วส่งต่อกันไปเรื่อย ๆ จนถึงเครื่องปลายทางที่มีอยู่ตรงกับที่ระบุในฟรมข้อมูล เครื่องนั้นก็จะนำข้อมูลไปใช้งานและส่งเฟรมข้อมูลตอบรับไปยังเครื่องผู้ส่งเพื่อบอกให้ทราบว่าได้รับข้อมูลเรียบร้อยแล้ว เมื่อเครื่องผู้ส่งได้รับการตอบรับแล้วจะส่งโทเด็นไปยังเครื่องถัดไป

6.2 รูปแบบการเชื่อมต่อครือข่าย
 หรือการสงสันทางกาสื่อสารเพื่อส่งข้อมูลจากอุปกรณ์หนึ่งไปยังอุปกรณ์หนึ่ง โดยเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่แบ่งตามหน้ำที่การทำงานสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือเครือข่ายแบบเพียร์ทูเพียร์ และเครือข่ายแบบไคลแอนด์เชิร์ฟเวอร์ มีรายละเอียดดังนี้


6.2.1 การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบเพียร์ทูเพียร์
เครือข่ายแบบเพียร์ทูเพียร์ (Peer-to-Peer) หรือการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบจุดต่อจุด เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกัน โดยคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องสามารถแบ่งปันทรัพยากรต่าง ๆ ซึ่งกันและกัน เช่น แฟ้มข้อมูล เครื่องพิมพ์ โดยแต่ละเครื่องจะทำงานในลักษณะที่เท่าเทียมกันเครือข่ายประเภทนี้ไม่จำเป็นต้องมีผู้ดูแลและจัดการระบบ เนื่องจากผู้ใช้คอมพิวเตอร์จะเป็นคนกำหนดว่าข้อมูลหรือทรัพยากรส่วนใดของเครื่องนั้นที่ต้องการใช้งานร่มกับผู้ใช้คนอื่น

6.2.2 การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบไคลแอนด์เซิร์ฟเวอร์
เครือข่ายแบบไคลแอนด์เชิร์ฟเวอร์ (CientSever) เป็นเครือข่ายที่กำหนดให้คอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งเป็นเครื่องหลักที่เรียกว่าเชิร์ฟเวอร์ (Seer) หรือเครื่องแม่ข่ายทำหน้ที่ไห้บริการเกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร รวมทั้งแบ่งปันข้อมูลกคอมพิวเตอร์ครื่องอื่น ๆ ที่มีการใช้บริการจากเครื่องเชิร์ฟเวอร์ ที่เรียกว่าเครื่องไคลแอนด์ (Cient) หรือเครื่องลูกข่าย มีหน้าที่ร้องขออนุญาตเข้าใช้งานเครือข่าย จนถึงการขอสิทธิ์การใช้งานทรัพยากร โดยเครื่องเชิร์ฟเวอร์ต้องมีการติดตั้งระบบปฏิบัติการเครือข่ายเพื่อให้บริการแบ่งปันข้อมูลและทรัพยากรแก่ไคลแอนด์ทุกเครื่องบนเครือข่าย อีกทั้งยังสามารถดูแลระบบรักษาความปลอดภัยและบริหารจัดการทรัพยากรต่าง ๆ ได้ ระบบเครือข่ายประหนี้ต้องมีผู้ดูแลคอมพิวเตอร์ เพื่อทำหน้าที่บริหารจัดการเกี่ยวกับแฟ้มขอมูล อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล และเครื่องพิมพ์ รวมทั้งการกำหนดสิทธิ์การใช้งานซึ่งในหนึ่งเครือข่ายสามารถติดตั้งเครื่องเชิร์ฟเวอร์เพื่อให้บริการกับเครื่องไคลแอนด์ได้มากกว่าหนึ่งเครื่องเช่นครืองเชิฟวอที่หริการกี่ยกับพื้นที่เก็บไฟล์ต่างๆ และต้องมีฮาร์ดดิสก็ที่สามารถบรรจุข้อมูลให้เพียงพอกับความต้องการของผู้ใช้ จะเรียกว่าไฟล์เชิร์ฟวอร์ (File Seer ส่วนเครื่องเชิร์ฟเวอร์ที่ให้บริการข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับฐานข้อมูลจะเรียกว่าดาต้าเบสเซิร์ฟวอร์ (Dalabase Server) และเรียกเครื่อง

 

6.3 เครือข่าย LAN (Local Area Netwok)
เป็นเครือชยส่วนบุคคลที่มีการเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สื่อสารที่อยู่ในพื้นที่ใกล้เคียงในระยะทางไม่เกิน 0 กิโลเมตร เข้าด้วยกัน เช่น การเชื่อมต่อเครือข่ายภายในแผนกเดียวกัน ภายในสำนักงาน หรือภายในอาคารเดียวกัน เป็นต้น เครือข่าย AN ถูกออกแบบขึ้นมาโดยมีจุดประสงค์หลักในการแบ่งปันกันใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ เช่น หน่วยประมวลผลกลางความเร็วสูง ฮาร์ดดิสก์ เครื่องพิมพ์ เป็นต้น ซึ่งการสร้างเครือข่าย N นี้องค์กรสามารถทำเองได้ โดยเชื่อมต่อสายสัญญาณภายในพื้นที่ของตนอง เครือข่าย N มีตั้งแต่เครือข่ายขนาดเล็กที่เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไปภายในห้องเตียวกันจนไปถึงการเชื่อมโยงระหว่างห้องหรือเชื่อมโยงระหว่างองค์กร เครือข่าย LN จึงเป็นเครือข่ายที่รับผิดชอบโดยเจ้าของและสามารถรับส่งสัญญาณกันด้วยความเร็วสูงมาก ทำให้การรับส่งข้อมูลมีความผิดพลาดน้อยและสามารถรับส่งข้อมูลจำนวนมากในเวลาจำกัดได้ แต่จะถูกจำกัดด้วยขนาดและระยะทางที่จะต้องห่างกันไม่มาก

6.4 การเชื่อมต่อระบบอินเทอร์เน็ต
 (internet) มาจากคำว่า inter Connection Network ซึ่งหมายถึง เครือข่ายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบต่างๆ ที่เชื่อมโยงกันเป็นระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องทั่งโลกสามารถติดต่อสื่อสารถึงกันได้โดยใช้มาตรฐานในการรับส่งข้อมูลเดียวกันที่เรียกว่า TCPIP(Transmission Control Protocollnteret Protco) ระบบอินทอร์เน็ตเป็นสมือนใยแมงมุมที่ครอบคลุมทั่วโลก ซึ่งในแต่ละจุดที่เชื่อมต่อจะสามารถสื่อสารกันได้หลายเส้นทางตามความต้องการ ไม่กำหนดตายตัวการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตสามารถทำได้2 วิธีคือการซื่อมต่อโดยตรงด้วยเกตเวย์ซึ่งเป็นการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์เข้ากับสายคนหลักของอินทอร์เน็ต โดยผ่านกตเวย์หรือเราท์เตอร์ การเชื่อมต่อแบบนี้มักใช้กับองค์กรขนาดใหญ่ เนื่องจากมีคู่ใช้จ่ายสูงมากและมีความเร็วในการสื่อสารสูงมากและการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตผ่าน ISP (internet Service Providers) เป็นการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าสู่อินเทอร์เน็ตโดยผ่านบริษัทผู้ให้บริการจัดสรรการเชื่อมโยง

 

 

 

จำนวนผู้เข้าชม